วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2552

คู่มือการให้บริการ รพ สต 7

สตรี
52 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวคิดในการทำงาน : สตรีเป็นกลุ่มประชากรสำคัญในการพัฒนาสุขภาพ ไม่ว่าจะ
ในฐานะที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพเฉพาะที่ต้องให้การดูแล หรือในฐานะที่เป็น
กลุ่มประชากรสำคัญ ที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของครอบครัว และชุมชน
การทำงานส่งเสริมสุขภาพสตรี มีความหลากหลายแตกต่างไปตามสภาวะเจริญพันธุ์
และยังมีกลุ่มปัญหาสุขภาพสตรีเฉพาะที่ รพ.สต. จำเป็นจะต้องให้ความสนใจ ในขณะ
เดียวกัน การทำงานส่งเสริมสุขภาพสตรี ก็เป็นโอกาสสำคัญในการสร้างศักยภาพกลุ่มสตรี
เพื่อมาเป็นแนวร่วมหรือกำลังสำคัญในการพัฒนาสุขภาพโดยรวมของชุมชน จึงควรคำนึงถึง
หรือหารูปแบบการทำงานกับสตรีที่จะมีผลต่อการสร้างทัศนคติและค่านิยมของการดูแล
ตนเอง และการมีส่วนร่วม มากกว่าเพียงการมองสตรีว่าเป็นกลุ่มประชากรที่ต้องให้การดูแล
หรือให้บริการสุขภาพ
งานสำคัญที่จะต้องคำนึงถึงในการสร้างเสริมสุขภาพสตรี ประกอบด้วย
1. การดูแลสุขภาพสตรีวัยเจริญพันธุ์ ซึ่งแตกต่างกันระหว่างสตรีที่แต่งงานแล้ว และ
ยังไม่แต่งงาน ในขณะเดียวกันหญิงตั้งครรภ์ก็เป็นกลุ่มเฉพาะที่ต้องให้การดูแลหรือเพิ่ม
ศักยภาพ โดยมีเป้าหมายไม่ใช่เพียงให้หญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพดี ปราศจาก หรือปลอดภัย
จากภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ หรือได้รับสารอาหารเพียงพอ แต่ยังอยู่ในฐานะที่จะ
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 53
เป็นแหล่งพำนัก และเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ และจะมีผลอย่างสำคัญต่อ การเจริญ
เติบโตทางร่างกาย ไปจนถึงพัฒนาการทางสติปัญญา และอารมณ์ของเด็กในครรภ์ การ
ให้การดูแลหญิงตั้งครรภ์จึงต้องมีเป้าหมายและแนวคิดใหม่ ที่ผนวกเอาการส่งเสริม
พัฒนาการในทุกด้านของเด็กที่จะเกิดมา เป็นผลลัพธ์สำคัญนอกเหนือจากสุขภาพทางกาย
หรือสุขภาพจิตของแม่
อีกด้านหนึ่งของการดูแลหญิงตั้งครรภ์คือการควบคุมโรคทางพันธุกรรม ซึ่งเป็นงาน
ควบคุมป้องกันโรคที่ต้องมีการดำเนินงานแตกต่างจากโรคติดเชื้อหรือโรคไม่ติดเชื้อที่คุ้นเคย
กัน โดยขณะนี้การควบคุมโรคทางพันธุกรรมที่เป็นนโยบายสำคัญ ได้แก่ โรคธาลัสซีเมีย
และ รพ.สต.จะมีบทบาทอย่างสำคัญเพราะอยู่ใกล้ชิดประชาชน และมีโอกาสสูงที่จะช่วยให้
เกิดการดูแลต่อเนื่อง หากมีการจัดรูปแบบและวิธีการรับฝากครรภ์ และการตรวจคัดกรอง
โดยการทำงานอย่างใกล้ชิดระหว่าง รพ.สต. กับโรงพยาบาลในระดับที่สูงขึ้น โดยเฉพาะ
โรงพยาบาลแม่ข่าย
2. สตรีหลังวัยเจริญพันธุ์ (หญิงวัยทอง) เป็นกลุ่มสตรีที่มีปัญหาสุขภาพเฉพาะ
อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทางฮอร์โมนในร่างกาย และผลการวิจัยล่าสุดก็แสดงให้เห็น
ว่า การได้รับฮอร์โมนทดแทน ไม่ใช่วิธีที่ดีที่สุดในการแก้ปัญหาสุขภาพในช่วงวัยนี้ และยังมี
ปัญหาสุขภาพอื่นๆ ที่มีข้อมูลออกมาเป็นระยะๆ ทำให้เกิดความสนใจปัญหาสุขภาพต่างๆ
เพิ่มขึ้น นำไปสู่การเดินทางเพื่อตรวจวินิจฉัย หรือกระทั่งความกังวลกับผลการตรวจที่อาจ
จะไม่ได้สะท้อนภาวะสุขภาพที่แท้จริง รพ.สต. ควรจะใช้ความได้เปรียบในเชิงที่ตั้ง และการ
มีสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนและครอบครัว สร้างศักยภาพและความมั่นใจของหญิงในวัยนี้ เพื่อให้
สามารถมีชีวิตอยู่อย่างมีความสุข แทนที่จะมองตัวเองเป็นวัยที่อ่อนแอ และต้องพึ่งพายากับ
เทคโนโลยีสมัยใหม่
54 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
3 . ปัญหาสุขภาพเฉพาะของเพศหญิง รพ.สต. จะต้องมีความรู้เพื่อช่วยให้คำแนะนำ
หรือให้บริการที่จำเป็น เพื่อให้เกิดการตรวจวินิจฉัยแต่เนิ่นๆ ในโรคหรือภาวะสุขภาพที่
สำคัญสำหรับเพศหญิง ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงวัยใด หรือแต่งงาน มีบุตรหรือไม่ ทั้งนี้เพื่อ
เป็นการลดค่าใช้จ่ายของครอบครัว รวมทั้งจัดการกับปัญหาได้ตั้งแต่เนิ่นๆ เป็นการเพิ่มทั้ง
คุณภาพ และโอกาสการมีชีวิตอย่างมีคุณภาพ
การจัดกลุ่มสตรีในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ซึ่งเป็นประชากรเป้าหมายที่มี
กิจกรรมสุขภาพที่หลากหลายและมีคามแตกต่างแต่เชื่อมโยงกัน รพ.สต.จึงต้องจัดบริการที่มี
การเตรียมการแบบบูรณาการภารกิจและทรัพยากรทุกด้าน
การจัดบริการด้านสุขภาพกลุ่มสตรี ซึ่งเป็นวัยทำงาน ที่ รพ.สต.มุ่งเน้นเพื่อให้เกิด
ความจำเพาะ จะเกิดผลกระทบทางบวกแก่สุขภาพในระยะยาว ฉะนั้น รพ.สต.จึงต้องมีการ
จัดการบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ อาทิ ด้านเวลาบริการ ควรเป็นเวลา
ราษฎร เช่น อาชีพเกษตรกรรมควรเป็นเวลาเย็นหรือบ่าย รับจ้างทั่วไป ควรเป็นวันหยุด
หรือเวลาเย็น รับจ้างโรงงานก็ควรประสานโรงงานจัดกิจกรรมช่วงพักเที่ยง หรือตอนเย็น
เปลี่ยนกะทำงาน หรือในเขตเมือง ชานเมือง ก็อาจเปลี่ยนรูปแบบเป็นจัดบริการในห้าง
สรรพสินค้า ในหมู่บ้าน
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 55
แยก
ประเภท
สตรียัง
ไม่มีบุตร
สตรีตั้ง
ครรภ์
จัดบริการ
- ให้บริการวางแผนครอบครัว
รพ.สต.ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
แก่สตรีและคู่สมรสให้มีความพร้อม
ก่อนการมีบุตร เช่น ด้านความ
มั่นคง วุฒิภาวะ และการเลือกวิธี
คุมกำเนิดที่เหมาะสม โรคติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์ การดูแลสุขอนามัย
ทางเพศ อาการผิดปกติในสตรีที่พบ
ได้บ่อย ความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรค
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้ง
ครรภ์อันไม่พึงประสงค

- การเตรียมตัวก่อนตั้งครรภ์
รพ.สต.ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
แก่สตรีและคู่สมรสให้มีความพร้อม
ก่อนการตั้งครรภ์ การตรวจสุขภาพ
ก่อนตั้งครรภ์ การเตรียมตัวก่อน
การตั้งครรภ์ อาการของคนตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์เมื่ออายุมากกว่า 35 ปี
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การตั้งครรภ์
เมื่อมีโรคเรื้อรัง ความพร้อมทาง
อารมณ์ ความพร้อมทางร่างกาย
รพ.สต. ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ
แก่สตรีตั้งครรภ์ เกี่ยวกับการดูแล
สุขภาพระหว่างตั้งครรภ์ ได้แก่
ลักษณะทางจิตวิทยาหญิงตั้งครรภ์
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
จัดคลินิกเสริม
ความรู้
อสม.เผยแพร่
e-mail หรือ
website ของ
รพ.สต.
ควรมีระบบการ
เชื่อมโยง ส่องต่อ
ข้อมูลกับ
1. รพ.แม่ข่ายที่
องค์การจัดการ
บริการร่วม
โรงงาน หมู่บ้าน
(บ้านจัดสรร/
ชุมชนในเขต
เทศบาล)
ห้างสรรพสินค้า/
ตลาด อสม.
จัดคลินิกเสริม
ความรู้ รพ.แม่ข่าย
สถานพยาบาล
เอกชน อสม.
56 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แยก
ประเภท
สตรีมีบุตร
แล้ว
จัดบริการ
การเลือกชุดชั้นใน การบริหาร
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน ความรู้สึกไม่
สบายที่พบบ่อยในสตรีตั้งครรภ์
คัดกรองพาหะธาลัสซีเมีย การดูแล
ให้คำแนะนำหญิงตั้งครรภ์ที่หัวนม
บอด การมีเพศสัมพันธ์ขณะตั้ง
ครรภ์ การเตรียมความพร้อมคลอด
บุตร การใช้สมุดบันทึกสุขภาพแม่
และเด็ก และการติดตามการฝาก
ครรภ์ให้ครบตามเกณฑ์
การติดตามช่วยการช่วยเหลือ
แนะนำแก่กลุ่มหญิงตั้งที่มีปัญหา
จากการตั้งครรภ์ เช่น ครรภ์เป็นพิษ
แท้งคุกคาม รพ.สต.จึงต้องมี
การจัดการบริการที่เชื่อมโยงกับ
รพ.แม่ข่าย สถานพยาบาลเอกชน
อสม.และชุมชน โดย รพ.สต.
มีหน้าที่จัดบริการเอง ประสาน
และให้คำปรึกษาแนะนำ ตามบริบท
พื้นที่
- ตรวจการดูแลก่อนคลอด (ANC)
แบบใหม่
รพ.สต.จะต้องมีการขึ้นทะเบียน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นปัจจุบัน และ
สร้างระบบการติดตามที่รวดเร็ว
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
สะดวก เช่น
e-mail, รายงาน
อิเลคโทรนิกส์
หรือโทรศัพท์/
โทรสาร/วิทยุ
สื่อสาร
2. อสม. รพ.สต.
ควรมีระบบการ
ประสาน/รายงาน
ข้อมูล 2 ทาง เช่น
โทรศัพท์/โทรสาร
/วิทยุสื่อสาร
หรือเอกสาร
รายงาน เป็นต้น
ควรมีระบบการ
เชื่อมโยง ส่องต่อ
ข้อมูลกับ
1. รพ.แม่ข่ายที่
สะดวก เช่น
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
สถานพยาบาล
เอกชน โรงงาน
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 57
แยก
ประเภท
จัดบริการ
อสม.สำรวจและแจ้งทางโทรศัพท์
วิทยุสื่อสาร รพ.แม่ข่ายรายงานทาง
e-mail ของ สอ. หรืออาสมัครใน
โรงงาน เป็นต้น เพื่อที่จะให้หญิงตั้ง
ครรภ์ทุกคนในพื้นที่รับผิดชอบได้รับ
การดูแลก่อนคลอดตามมาตรฐาน
สปสช. และควรมีจัดบริการดูแล
ก่อนคลอดที่เหมาะสมใน รพ.สต.
ด้วย และควรมีระบบการเชื่อมโยง
ข้อมูลการตั้งครรภ์ ระหว่างหญิง
ตั้งครรภ ์อสม. รพ.สต.
- การเยี่ยมหลังคลอด
รพ.สต.จะต้องมีการขึ้นทะเบียน
หญิงหลังคลอด ขั้นตอนใช้รูปแบบ
การตรวจดูแลหลังคลอด เป็นตาม
มาตรฐาน ข้อมูลรวดเร็วและ
ครอบคลุม การอยู่ไฟของสตรีหลัง
คลอดบุตร เช่นการใช้สมุนไพร
(การแพทย์พื้นบ้าน) การอบตัว การ
ประคบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ
และกิจกรรมการดูแลโครงสร้าง
(กระดูกอุ้งเชิงกราน/สันหลัง) เพื่อ
ลดการปวดหลัง และการน้ำหนักให้
เข้าสู่เกณฑ์ปกติในเวลาที่เหมาะสม
และวิธีที่ถูกต้อง การเล่านิทาน
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
e-mail, รายงาน
อิเลคโทรนิกส์
หรือโทรศัพท์/
โทรสาร/วิทยุ
สื่อสาร
2. อสม. รพ.สต.
ควรมีระบบการ
ประสาน/รายงาน
ข้อมูล 2 ทาง เช่น
โทรศัพท์/โทรสาร
/วิทยุสื่อสาร
หรือเอกสาร
รายงาน เป็นต้น
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
สถานพยาบาล
เอกชน โรงงาน
58 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แยก
ประเภท
จัดบริการ
(หนังสือเล่มแรก) ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรม (กลุ่มอายุ 0-1, 1-5 ปี)
จัดช่องทางการให้คำปรึกษาแนะนำ
และการให้ความรู้แก่พ่อแม่
และผู้ดูแลเด็ก ของเล่นตามวัย
เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ
- หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อ HIV
รายละเอียดกิจกรรมบริการอยู่ใน
ส่วนของการควบคุมโรค (กรม
ควบคุมโรค) รพ.สต.ควรให้การดูแล
และประสานในด้านสังคมแก่หญิง
ตั้งครรภ์ติดเชื้อ HIV เช่น เรื่อง
สวัสดิการจาก พม. หรือ อปท.
การให้การยอมรับในชุมชน
ครอบครัวอยู่ในชุมชนได้อย่างปกติ
เช่น พาผู้ป่วยและญาติร่วมกิจกรรม
ของ รพ.สต. หรือจัดกลุ่มผู้ติดเชื้อ
HIV ดูแลชุมชน เช่น การดูแลผู้ติด
เชื้อด้วยกัน หรือดูแลผู้สูงอายุ หรือ
กลุ่มธรรมะ หรือกลุ่มจิตอาสาอื่นๆ
เป็นต้น ทั้งนี้ การเชื่อมโยงข้อมูล
ระหว่าง รพ.แม่ขาย รพ.สต.และ
ชุมชน ควรกำหนดหลักเกณฑ์การ
เปิดเผยข้อมูลที่เหมาะสม คำนึงถึง
ระเบียบ/กฎหมายที่มีอยู่
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
โรงงาน
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 59
แยก
ประเภท
สตรีวัยทอง
จัดบริการ
มีการดำเนินภารกิจกลุ่มวัยนี้อย่าง
ต่อเนื่องที่เรียกว่า มุมวัยทอง
รพ.สต.ที่จะจัดบริการในกลุ่มให้เน้น
การดำเนินกิจกรรมที่เป็นการ
ส่งเสริมสุขภาพที่เพื่อป้องกันปัญหา
ที่จะเกิดขึ้นกับวัยนี้ ทั้งปัญหาด้าน
ทางกาย จิตใจ ครอบครัวและ
คนรอบข้าง มีความเข้าใจและ
เตรียมพร้อมรับในการเปลี่ยนแปลง
การป้องกัน การดูแลรักษาอาการ
ของคนวัยทอง ออกกำลังกายให้
ปลอดภัย อาหารและการบริโภคที่
เหมาะสม เมื่อเข้าสู่วัยทอง อาการ
เตือนของวัยทอง โรคที่มักจะเกิดกับ
วัยทอง เช่น โรคกระดูกพรุน
การป้องกันอุบัติเหตุหกล้ม
ในสถานบริการ
จัดคลินิกหรือห้องให้คำปรึกษาที่
ทำให้รู้สึกผ่อนคลายเป็นกันเอง
กลุ่มเป้าหมายให้ประเมินจากผู้ที่มี
ภาวะเสี่ยงและส่งเสริมการเข้ากลุ่ม
กิจกรรม โดยพยายามให้ครอบครัว
เข้าร่วมกิจกรรมด้วย เพื่อการเรียนรู้
และความเข้าใจซึ่งกันและกันมาก
ขึ้น มีการประเมินภาวะเสี่ยงทาง
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
อสม.
e-mail
website
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
โรงงาน
60 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
สุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง ประเมิน
ภาวะเสี่ยงทางด้านจิตใจ เช่น
ความมั่นคงของคู่สมรส เป็นต้น
ซึ่งการจัดคลินิกอาจเป็นแบบใน
รพ.สต. หรือ ทาง e-mail หรือ
website ของรพ.สต.ก็ได้
ในชุมชน
รพ.สต.ควรจัดการบริการส่งเสริม
สุขภาพกลุ่มสตรีวัยทองในชุมชน
ในโรงงาน หรือสถานที่ที่มีสตรีกลุ่ม
นี้รวมกันอยู่ กิจกรรมบริการ เช่น
จัดกลุ่มสัมพันธ์แลกเปลี่ยนแนะนำ
กันเอง การจัดการอบรม
การจัดการเสริมสร้างความเข้าใจแก่
สามีและครอบครัว หรือกลุ่มจิต
อาสาบำเพ็ญประโยชน์ในชุมชน
หรือการสร้างกลุ่มอาชีพ โดย
รสพต.ประสานการจัดการบริการกับ
อสม.และสตรีวัยทอง และผลักดัน
การขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
กิจกรรมของสตรีกลุ่มนี้แก่ อปท.
ผ่านทางสมาชิกสภาองค์การบริหาร
ส่วนตำบล (ส.อบต.)/ทส.หรือ
กลุ่ม/ชมรมเสนอขอเองโดยตรง
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
อสม.
e-mail
โทรศัพท์
วิทยุสื่อสาร
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
โรงงาน
อปท.
สตรีวัยทอง
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 61
แยก
ประเภท
กลุ่มสตรี
ที่ต้อง
คัดกรอง
โรคสตรี
จัดบริการ
รพ.สต. ควรจัดบริการสุขภาพแก่
กลุ่มสตรี การจัดบริการกิจกรรม
คัดกรองสุขภาพ มาตรฐานทั่วไป
ซึ่งเน้นการคัดกรองที่ครอบคลุม
และนำผลการคัดกรองผู้ที่มีภาวะ
เสี่ยงที่จำแนกแล้ว นำมาวิเคราะห์
วางแผน เพื่อการส่งเสริมและ
ป้องกันปัญหาสุขภาพในอนาคต
รูปการจัดบริการอาจให้บริการ
เฉพาะราย หรือให้บริการรายกลุ่ม
หรือการให้บริการทาง e-mail หรือ
Website หรือการเยี่ยมบ้าน
โดยทีมสหวิชาชีพ ร่วมกับ อสม.
หรือการมอบหมายให้ อสม.ทำการ
เยี่ยมบ้านได้เป็นต้น
ในชุมชน (เข้าถึงบริการลำบาก)
ในพื้นที่ซึ่งประชาชนเข้าถึงบริการ
ค่อนข้างลำบาก ห่างไกล รพ.สต.
อาจแก้ไขปัญหาเบื้องต้นโดยจัด
บริการให้มีสถานที่ที่ให้บริการด้าน
สุขภาพอนามัยเบื้องต้นแก่ชุมชน
เช่น พัฒนาศูนย์สาธารณะสุขมูลฐาน
ชุมชน (ศสมช.) เป็นศูนย์รวมของ
กิจกรรมสาธารณสุขเบื้องต้น เป็นที่
รวมความรู้ ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุข
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
อสม.
e-mail
โทรศัพท์
วิทยุสื่อสาร
อสม.
e-mail
โทรศัพท์
วิทยุสื่อสาร
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
สตรีวัยทอง
ผู้ป่วย
ญาติ
ครอบครัว
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
สตรีวัยทอง
ผู้ป่วย
ญาติ
ครอบครัว
62 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
และเป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานร่วมกันระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้องในชุมชน โดยมี
อาสาสมัครสาธารณสุขเป็นผู้ร่วม
ดำเนินการ ภายใต้การดูแล สนับสนุน
การให้คำปรึกษาและแนะนำจาก
เจ้าหน้าที่ และให้มีความสอดคล้อง
กับความต้องการของชุมชน การจัด
ตั้งเป็นศูนย์ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน
อาจสามารถเป็นที่พึ่งของชุมชน มี
การสรรหาโดยการคัดเลือก อสม.
เพื่อเข้ารับการอบรมหลักสูตรการ
บริบาลในชุมชน หมู่บ้านละ 1 คน
รับผิดชอบสุขภาพ เช่น โรคเบาหวาน
ความดัน ประเมินภาวะเสี่ยงทาง
ด้านจิตใจ เช่น ความมั่นคงของ
คู่สมรส เป็นต้น ซึ่งการจัดคลินิก
อาจเป็นแบบใน รพ.สต. หรือ ทาง
e-mail หรือ website ของ
รพ.สต.ก็ได้
โรคที่ รพ.สต. ต้องส่งเสริมให้มีการ
คัดกรองที่เข้มข้น ครอบคลุม
และมีการจัดกิจกรรมการส่งเสริม
สุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ผู้ที่อยู่
ในภาวะเสี่ยงและมีระบบการ
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
องค์การจัดการ
บริการร่วม
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 63
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
ติดตามต่อเนื่อง มีดังนี้
1. โรคมะเร็งเต้านม การคัดกรอง
ตามมาตรฐานคู่มือ
2. โรคมะเร็งปากมดลูก
การคัดกรองตามมาตรฐานคู่มือ
รพ.สต.ควรมีจัดบริการดูแลสุขภาพ
ให้คำปรึกษา และการติดตามการ
รักษาเป็นระยะให้แก่กลุ่มผู้ป่วย มี
การจัดคลินิกบริการที่ รพ.สต. การ
เยี่ยมบ้าน (HHC) หรือ เยี่ยมการ
ช่องทาง e-mail หรือ website
เป็นต้น
ในสถานบริการ
การตรวจคัดกรอง และการจัดทำ
ทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย ควรดำเนิน
กิจกรรมแบบบูรณาการร่วมกับการ
ตรวจคัดกรองอื่น เช่น โรค
เบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
อ้วน วัยทองฯ การพัฒนาแนว
ปฏิบัติ (Clinical Practice
Guideline : CPG ) การจัด
กิจกรรมบริการตรวจมะเร็งเต้านม
และมะเร็งปากมดลูก ในส่วนของ
มะเร็งปากมดลูก ควรจัดชุดตรวจไว้
พร้อมเสมอ ให้ตรวจทุกรายที่มี
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
ควรมีระบบการ
เชื่อมโยง ส่งต่อ
ข้อมูลกับ
1. รพ.แม่ข่ายที่
สะดวก เช่น
e-mail, รายงาน
อิเลคโทรนิกส์
หรือโทรศัพท์/
โทรสาร/วิทยุ
สื่อสาร
2. อสม. รพ.สต.
ควรมีระบบการ
ประสาน /รายงาน
องค์การจัดการ
บริการร่วม
อสม.
โรงพยาบาลแม่ข่าย
สตรีวัยทอง
ผู้ป่วย
ญาติ
ครอบครัว
64 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
ความเข้าใจและประสงค์ตรวจ
รูปแบบการตรวจคัดกรองให้
ครอบคลุมเป้าหมาย อาจใช้วิธี
รณรงค์เป็นกลุ่มใหญ่ ให้
อสม.แนะนำและพาตรวจ
หรือใช้เขียนจดหมายถึงกลุ่ม
เป้าหมายโดยตรง ซึ่งอาจเขียนจาก
เจ้าหน้าที่รพ.สต.หรือจากผู้ป่วย
หรือจากผู้ที่เคยตรวจแล้ว
เพื่อทำความเข้าใจ และเชิญชวน
ส่วนการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม
รพ.สต.ควรเตรียมพร้อมอุปกรณ์/
เอกสาร/แบบประเมินการตรวจให้
พร้อม มีอุปกรณ์ตัวอย่างสาธิตให้ดู
(MODEL นม) หรือ VCD
ชุดความรู้ เพื่อพร้อมให้ความเข้าใจ
แก่กลุ่มเป้าหมายทั้งรายบุคคลและ
รายกลุ่ม
ในชุมชน
กิจกรรมรณรงค์อาจใช้หลายวิธี เช่น
นัดหมายเป็นกลุ่ม แล้วเชิญผู้ตรวจ
ภายในจาก รพ.สต.อื่น หรือ
รพ.แม่ข่ายเป็นผู้ตรวจ หรือเข้าเยี่ยม
บ้านเป็นรายบุคคลที่เป็นกลุ่ม
เป้าหมายโดยมี อสม.เป็นผู้ประเมิน
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
ข้อมูล 2 ทาง เช่น
โทรศัพท์/โทรสาร
/วิทยุสื่อสาร
หรือเอกสาร
รายงาน เป็นต้น
องค์การจัดการ
บริการร่วม
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 65
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
และชี้เป้าหมายว่าคนใด หลังคา
เรือนใดที่มีโอกาสยินยอมตรวจ
เป็นต้น
ผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกและ
มะเร็งเต้านม ซึ่งแบ่งผู้ป่วยออกเป็น
2 ประเภท คือ
ก. ผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการรักษา
ทั้งเคมีบำบัด ฉายแสง หรือกลืนแร่
เป็นต้น ซึ่งในขั้นตอนนี้ ผู้ป่วยจะ
ต้องได้รับการรักษาที่ต่อเนื่อง และ
ต้องการกำลังใจ พลังใจที่เข้มแข็ง
เป็นอย่างมาก รพ.สต.จึงมีหน้าที่เชิง
รุก เพื่อการให้ความรู้ความเข้าใจ
เพิ่มเติมในการดูแลตนเอง และการ
สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วย และส่ง
เสริมให้ครอบครัวเข้าใจและให้กำลัง
ใจแก่ผู้ป่วย เช่น การเยี่ยมบ้าน
เพื่อน (ผู้ป่วย) ช่วยเพื่อน (ผู้ป่วย)
หรือการจัดกิจกรรมกลุ่มที่ รพ.สต.
เป็นต้น การร่วมอย่างใกล้ระหว่าง
ทีมสหวิชาชีพ อสม. ผู้ป่วยและ
ครอบครัว เป็นสิ่งจำเป็น และการ
เชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง รพ.ที่ให้การ
รักษากับ รพ.สต.ก็เป็นสิ่งสำคัญ
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
ข้อมูล 2 ทาง เช่น
โทรศัพท์/โทรสาร
/วิทยุสื่อสาร
หรือเอกสาร
รายงาน เป็นต้น
องค์การจัดการ
บริการร่วม
66 คู่มือการให้บริการของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
ข. ผู้ป่วยที่ติดตามผลรักษาต่อเนื่อง
(รักษาหาย)
รพ.สต.โดยทีมสหวิชาชีพจะต้องมี
การประสานการติดตามกับ อสม.
หรือผู้ป่วย และควรจัดเก็บทะเบียน
การนัดต่อเนื่อง เพื่อการติดตามให้
ไปโรงพยาบาลตามนัดเพื่อป้องกัน
การป่วยซ้ำ
ค. ผู้ป่วยที่รักษาไม่หาย
รพ.สต.โดยทีมสหวิชาชีพ ต้องจัด
ทำทะเบียนและการเยี่ยมบ้าน
(HHC) อย่างสม่ำเสมอ หรือมีรูป
แบบการติดตามเยี่ยมที่ผู้ป่วย
สะดวก และควรดูแลสุขภาพจิตผู้
ป่วยและครอบครัว เช่น การป้องกัน
การ
หย่าร้าง (ผู้ป่วยโรคมะเร็งปาก
มดลูก) การซึมเศร้าของผู้ป่วย จัด
บริการชุดทำแผล
การให้ อสม.ในละแวกใกล้เคียง
ดูแล หรือญาติคอยดูแล และ
กำหนดช่องทางการสื่อสารแจ้ง
ความผิดปกติของผู้ป่วยแก่ รพ.สต.
ได้อย่างรวดเร็วเพื่อการดูแลอย่าง
รูปแบบ/
ช่องทางสื่อสาร
องค์การจัดการ
บริการร่วม
ภารกิจหลักบทที่ 3 ภารกิจของ รพ.สต. 67
แยก
ประ
เภท
จัดบริการ
การดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต
รพ.สต.เยี่ยม (HHC) อาจแนะนำ
รายการธรรมะ หนังสือ หรือ
สื่อธรรมะแก่ผู้ป่วย เป็นต้น
การจัดบริการในกลุ่มผู้ป่วยทั้งหมด
รพ.สต.ต้องสร้างระบบเครือข่ายจัด
บริการร่วมกับ ผู้ป่วย ญาติ อสม.
และโรงพยาบาล มีช่องทางการ
สื่อสารที่สะดวก เข้าถึงง่าย เช่น
วิทยุสื่อสาร โทรศัพท์ เอกสาร
รายงาน e-mail หรือ website
เป็นต้น
การดูแลระยะสุดท้ายของชีวิต
(ตามเอกสารเรื่องการดูแลระยะ
สุดท้ายของชีวิต)
รูปแบบ/

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น